ตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยบริการปฐมภูมิ

ตัวชี้วัดที่

รายชื่อตัวชี้วัด

คะแนน
ตัวชี้วัดย่อย

คะแนนตัวชี้วัดหลัก

1

จำนวน อสม.ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม.หมอประจำบ้านครบทุกคนภายใน 5 ปี

 

5

 

1.1 ด้านกระบวนการ

2.5

 

 

1.2 ด้านผลลัพธ์

2.5

 

2

ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจำบ้าน มีคุณภาพชีวิตที่ดี

5

5

3

ร้อยละของอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (66 เนื้อหา) และเป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพครอบครัว

5

5

4

ร้อยละของหมู่บ้านที่สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ภายใน 2 เท่าของระยะฟักตัว (28 วัน)

3

3

5

ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ 5 ครั้งคุณภาพ

3

3

6

ร้อยละของทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

 

3

 

6.1 กระบวนการดำเนินงาน

1.5

 

 

6.2 ร้อยละของทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 6

1.5

 

7

ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับวิตามินเสริมไอโอดีนธาตุเหล็กและโฟลิก

5

5

8

ร้อยละทารกแรกเกิดมีระดับฮอร์โมนกระตุ้นต่อมธัยรอยด์ (TSH) มากกว่า 12 μU/mL (ไม่เกินร้อยละ 0.22)

3

3

9

ร้อยละของเด็ก อายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ

4

4

10

ร้อยละของเด็ก อายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม

4

4

11

ร้อยละของเด็ก อายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

4

4

12

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 

3

3

13

ร้อยละของเด็กอายุ ๖-๑๔ ปี สูงดีสมส่วน

1.5

1.5

14

ร้อยละของวัยทำงานอายุ 19-59 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ

3

3

15

ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ได้รับการดูแลตาม Care Plan

5

5

16

ตำบลมีกองทุน Long Term Care ผ่านเกณฑ์

3

3

17

ร้อยละของสตรีอายุ 30-60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์

4

4

18

ความชุกของผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากร อายุ 15 ปีขึ้นไป

 

3

 

18.1 ร้อยละการคัดกรองผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป

1.5

 

 

18.2 ร้อยละความชุกผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป

1.5

 

19

19. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ในประชากร อายุ 15 ปีขึ้นไป

 

4

 

19.1 ร้อยละการคัดกรองผู้สูบยาสูบของประชากร อายุ 15 ปีขึ้นไป (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65)
(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65)

2

 

 

19.2 ร้อยละความชุกประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป (สูบยาสูบ ไม่เกินร้อยละ 12)

2

 

20

สอน./รพ.สต.มีการจัดบริการสุขภาพช่องปาก

 

4

 

20.1 ร้อยละการใช้บริการทันตกรรมรวมทุกสิทธิ เฉพาะเขตรับผิดชอบ (คน)

2

 

 

20.2 ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 3-5 ปี ได้รับการเคลือบ/ทา ฟลูออไรด์เฉพาะที่เฉพาะเขตรับผิดชอบ(คน)

1

 

 

20.3 ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) (ความครอบคลุมของการตรวจไม่น้อยกว่าร้อยละ 40)

1

 

21

ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก

4

4

22

ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน

5

5

23

ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน

5

5

24

ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยความดันโลหิตสูง

5

5

25

ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง

5

5

    รวม 125
    ร้อยละ 100